otopthaishop

สินค้า OTOP สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน

สินค้า OTOP สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น

สินค้า OTOP สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน

สินค้า OTOP สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย คัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทยปี 2566 การดำเนินงานโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product Champion) เป็นกิจกรรมหนึ่งของการดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เพื่อจัดระดับผลิตภัณฑ์ที่จะนำไปสู่การพัฒนา ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชนดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product Champion) ต่อเนื่องจากการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ ผลิตภัณฑ์ OTOP ได้มีโอกาสพัฒนาให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับแก่บุคคลทั่วไป จนสามารถใช้เป็นแหล่งสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กับชุมชน อีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีมาตรฐานในระดับสากล วัตถุประสงค์เพื่อจัดระดับผลิตภัณฑ์ (Product Level) ที่จะนำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development) เพื่อจัดระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ (Profile) ที่จะใช้ในการทำงานเชิงบูรณาการของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สินค้า OTOP เพื่อประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างคุณค่าของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับแก่บุคคลทั่วไป จนสามารถใช้เป็นแหล่งสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กับชุมชน สินค้า OTOP เพื่อกระตุ้นให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP และชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ กรอบการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทยสามารถส่งออกได้ (Exportable) โดยมีความแกร่งของตราผลิตภัณฑ์ (Brand Equity) ผลิตอย่างต่อเนื่องและคุณภาพคงเดิม (Continuous & Consistent) สินค้า OTOP ความมีมาตรฐาน (Standardization) โดยมีคุณภาพ (Quality) และสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า (Satisfaction) สินค้า OTOP มีประวัติความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ (Story of Product) ที่สะท้อนอัตลักษณ์ของชุมชนเชิงพื้นที่

สินค้า OTOP ประเภทผลิตภัณฑ์ที่เข้าคัดสรรฯ

สินค้า OTOP สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เครือข่ายองค์ความรู้ KBO (Knowledge-Based OTOP) ความเป็นมา การขับเคลื่อน OTOP รัฐบาลได้ส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชน ให้มีส่วนสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งแก่ภาคประชาชน และการส่งเสริมบทบาทของสถาบันการศึกษาในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อผนึกกำลังของทุกภาคส่วนในชุมชนขับเคลื่อน OTOP สู่ความเข้มแข็งและยั่งยืนในรูปแบบของเครือข่ายองค์ความรู้ หรือ Knowledge – Based OTOP : KBO โดยกรมการพัฒนาชุมชน เริ่มดำเนินการโครงการเครือข่ายองค์ความรู้ KBO (Knowledge-Based OTOP) เมื่อปี พ.ศ. 2549 ดำเนินการในพื้นที่นำร่อง 4 ภาคๆ ละ 1 จังหวัด ได้แก่ ภาคเหนือ คือ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ จังหวัดอุดรธานี ภาคกลาง คือ จังหวัดราชบุรี ภาคใต้ คือ จังหวัดสงขลา สินค้า OTOP โดยกรมการพัฒนาชุมชนได้สนับสนุนให้มีเครือข่ายองค์ความรู้ Knowledge – Based OTOP : KBO จำนวน 75 เครือข่าย จัดทำทะเบียนเครือข่ายองค์ความรู้ KBO สนับสนุนให้กลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีการเรียนรู้จากเครือข่าย KBO จังหวัด พร้อมทั้งหาความต้องการกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP (Training Needs : TN) วัตถุประสงค์ สินค้า OTOP เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายองค์ความรู้ KBO เป็นศูนย์กลางในการให้ความช่วยเหลือและการสนับสนุนให้แก่กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพในการประกอบการ และมีผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนา หลักสำคัญคือการเชื่อมโยงแหล่งความรู้ในท้องถิ่นและชุมชนมาพัฒนา ผลิตภัณฑ์ OTOP ภายใต้การสนับสนุนของสถาบันการศึกษาและหน่วยงานด้านเทคนิคการผลิตที่เกี่ยวข้อง มีการเสริมสร้างความรู้ ทักษะและพัฒนาต่อยอด ผลิตภัณฑ์ OTOP ให้มีความโดดเด่น มีคุณภาพมาตรฐานพร้อมที่จะจำหน่ายทั้งในตลาดภายในและตลาดต่างประเทศได้ ที่สำคัญผลิตภัณฑ์นั้นยังคงรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของชุมชนอย่างเด่นชัด

สินค้า OTOP สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาผลิตภัณฑ์ โดย KBO จังหวัด

การส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดย KBO จังหวัดจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่ายองค์ความรู้เพื่อไปสนับสนุนความรู้ด้านการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการแก่กลุ่มผู้ผลิต OTOP Provincial Star OTOP (PSO) ความเป็นมา สินค้า OTOP คณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ (กอ.นตผ) มอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชนดำเนินการคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัด เพื่อค้นหาผลิตภัณฑ์ที่แสดงเอกลักษณ์ของจังหวัด สำหรับการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยมีคณะกรรมการอำนวยการคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัด กรมการพัฒนาชุมชนกำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางให้คณะอนุกรรมการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัด เป็นผู้พิจารณาผลิตภัณฑ์จากจังหวัดตามเกณฑ์ที่กำหนด เสนอให้คณะกรรมการอำนวยการฯ พิจารณา กรอบแนวคิด สินค้า OTOP คัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัดที่มีเอกลักษณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีคุณค่า เป็นที่นิยมมีศักยภาพด้านการผลิตและความสามารถด้านการตลาด โดยพิจารณาจากด้านผู้บริโภคและการส่งเสริมจากหน่วยงาน วัตถุประสงค์คัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัดทั่วประเทศ นำผลิตภัณฑ์เด่นเข้าสู่กระบวนการส่งเสริมและพัฒนา หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดสรร  “Provincial Star OTOP : PSO” ด้าน Supply Side พิจารณาจาก 4 ด้าน อัตลักษณ์ ผลิตภัณฑ์แสดงความเป็นตัวตนของจังหวัด ผลิตภัณฑ์มีความโดดเด่น มีชื่อเสียงของจังหวัด มีลักษณะจำเพาะ ภูมิปัญญา + ทรัพยากรท้องถิ่น การสืบทอดองค์ความรู้ที่เน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น สัดส่วนของวัตถุดิบภายในจังหวัดที่ใช้ในการผลิต องค์ความรู้ในการผลิต ใช้แรงงานส่วนใหญ่ในจังหวัดในการผลิต ความสามารถด้านการตลาด ความพึงพอใจของผู้บริโภค เป็นของฝากของที่ระลึกประจำจังหวัด สร้างอาชีพรายได้ให้กับคนในจังหวัดมีตลาดที่มั่นคงภายในประเทศและหรือต่างประเทศ

การพัฒนาต่อยอดสร้างสรรค์สินค้า OTOP

สินค้า OTOP สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มีการแปรรูปด้าน Demand Side  จัดทำ Workshop เพื่อคัดเลือก PSO จาก Supply Side ผู้บริโภคชาวต่างประเทศในประเทศไทย นักการตลาด หน่วยงาน องค์กรด้านการตลาด ผลการคัดสรร Provincial Star OTOP การคัดสรร Provincial Star OTOP (PSO) ปี 2549 จำนวน 187 รายการ แยกเป็นประเภทผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร จำนวน 65 รายการ ประเภทเครื่องดื่ม จำนวน 8 รายการ ประเภทผ้า เครื่องแต่งกาย จำนวน 48 รายการ ประเภทของใช้ จำนวน 63 รายการ ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร จำนวน 3 รายการ การพัฒนายกระดับ ผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (Quadrant D) กรมการพัฒนาชุมชนดำเนินการจัดกลุ่มประเภทผลิตภัณฑ์ (Quadrant) ของ OTOP ตามศักยภาพของกลุ่มผู้ผลิต กลุ่มดาวเด่นสู่สากล A มีคุณภาพสูง และผลิตได้จำนวนมากอย่างต่อเนื่อง มีตลาดจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ มีกำลังการผลิตที่รองรับการสั่งซื้อได้ในปริมาณมากและมีศักยภาพในการส่งออกตลาดต่างประเทศได้ระยะยาว กลุ่มเอกลักษณ์สร้างคุณค่า B มีคุณภาพสูง ผลิตได้จำนวนน้อย ขั้นตอนกระบวนการผลิตยากและซับซ้อนเป็นงานหัตกรรมประณีตศิลป์ มีเอกลักษณ์ของสินค้าแต่ละชิ้น ใช้ระยะเวลาในการผลิตและไม่สามารถผลิตสินค้าที่เหมือนกันในปริมาณมากได้ กลุ่มพัฒนาสู่การแข่งขัน C มีคุณภาพระดับพื้นฐานตามที่กฎหมายกำหนด หรือมาตรฐานอื่นที่รองรับผลิตไม่มีความซับซ้อน ผลิตจำนวนมาก มีกำลังการผลิตเพียงพอ หรือมีกำลังการผลิตในลักษณะเป็นเครือข่าย มีตลาดจำหน่ายทั้งภายในและภายนอกชุมชน และสามารถเข้าสู่การแข่งขันในตลาดได้ กลุ่มปรับตัวการพัฒนา D มีการผลิตง่าย ไม่ซับซ้อน ผลิตได้จำนวนน้อย หรือหลากหลาย ยังไม่ได้มีการรับรองมาตรฐานต้องการในการพัฒนาศักยภาพในตัวผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต และการบริหารจัดการเพื่อเข้าสู่การรับรองมาตรฐาน

สินค้าโอทอปแต่ละจังหวัดสินค้าโอทอป 77 จังหวัดสินค้าโอทอปอาหารสินค้า โอทอปขายดีสินค้าโอทอปภาคอีสานสินค้าโอทอป คือสินค้า OTOP สมุนไพรธรรมชาติสินค้า โอทอปขายที่ไหนจำหน่ายสินค้า OTOPจำหน่ายสินค้า OTOP ทั่วประเทศจำหน่ายสินค้า OTOP ของดีทุกจังหวัดยุคแห่งการนำเสนอและขายของออนไลน์สินค้าภูมิปัญญาชาวบ้านสินค้าพื้นบ้านอาหารพื้นบ้านเกษตรกร 100%, ร้านค้ารวมสินค้า OTOP จากทุกจังหวัดตัวแทนสินค้ามาส่งถึงมือท่านOTOP ขอนแก่นOTOP ชัยภูมิOTOP ร้อยเอ็ดOTOP กาฬสินธุ์ให้บริการฝาก-ขาย สินค้า OTOPจำหน่ายสินค้าพื้นบ้านประจำจังหวัดของฝาก ของที่ระลึกอาหารแห้ง อาหารสด

สินค้า OTOP สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น